สถานการณ์และแนวโน้มสังคมผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2556 - 2573

สถานการณ์และแนวโน้มสังคมผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2556 - 2573

              การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของไทยที่เกิดขึน้ อย่างรวดเร็วในช่วง 3 - 4 ทศวรรษที่ผ่านมา
ทาให้ประเทศเข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงวัย ตัง้ แต่ประมาณปี 2543 - 2544 คือ มีประชากรอายุ 60 ปี คิดเป็นสัดส่วนมากกว่าร้อยละ10 ของประชากรทัง้ หมด นอกจากสัดส่วนผู้สูงอายุที่เพิ่มขึน้ แล้ว ยังมีอีกตัวบ่งชีหนึ่งที่แสดงถึงการก้าวเข้าสู่สังคม
ผู้สูงวัยแล้ว นนั่ คือ “ดัชนีการสูงวัย” (Aging index) ซึ่งแสดงถึงการเปรียบเทียบโครงสร้างการทดแทนกันของประชากรกลุ่มผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปี ขึน้ ไป) กับกลุ่มประชากรวัยเด็ก (อายุต่ากว่า 15 ปี )  โดยดัชนีการสูงวัยมีค่าต่ากว่า 100 แสดงว่าจานวนประชากรสูงอายุมีน้อยกว่าจานวนเด็ก แต่ในทางตรงข้าม  ถ้าดัชนีมีค่าเกินกว่า 100 แสดงว่าจานวนประชากรสูงอายุมีมากกว่าจานวนประชากรเด็ก  ปัจจุบันประชากรโลกมีอายุสูงขึน้ จึงมีการใช้ดัชนีการสูงวัยจาแนกสังคม

(ปราโมทย์ ปราสาทกุล,2556) ดังนี ้


             สังคมเยาว์วัย (young society) หมายถึงค่าดัชนีต่ากว่า 50
             สังคมสูงวัย (aged society) หมายถึงค่าดัชนีระหว่าง 50 - 119.9
             สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ (completed aged society) หมายถึงค่าดัชนีระหว่าง 120 - 199.9
             สังคมสูงวัยระดับสุดยอด (super aged society) หมายถึงค่าดัชนีตัง้ แต่ 200 ขึน้ ไป


             ประชากรโลกได้เปลี่ยนผ่านสู่ประชากรสูงวัย กลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว เช่น ประเทศสมาชิกในยุโรป
อเมริกาเหนือ ได้เข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์แล้ว (Population Reference Bureau, 2012) ในขณะที่บางประเทศ
ในเอเซีย เช่น ญี่ปุ่น ได้เข้าสู่สังคมสูงวัยระดับสุดยอดแล้วเช่นกัน ประเทศไทยจัดอยู่ในกลุ่มสังคมสูงวัยของกลุ่ม
ประเทศอาเซียนเป็นอันดับที่ 2 รองจากประเทศสิงคโปร์

 

กรุณาอ่านรายละเอียดในเอกสารแนบ

เอกสารที่เกี่ยวข้อง